วันจันทร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554

สรุป

ข้อดี-ข้อเสีย Wireless  LAN

ข้อดีของระบบ Wireless  LAN

1.  สะดวกในการเคลื่อนย้ายติดตั้ง เนื่องจากWLANไม่จำเป็นต้องมีสายเคเบิ้ลต่อพ่วง
2.  ง่ายในการติดตั้ง  เพราะไม่จำเป็นต้องติดสายเคเบิ้ล
3.  ลดค่าใช้จ่าย  เนื่องจากไม่ต้องจำเป็นเสียค่าบำรุงรักษา  ในระยะยาว
4.  สามารถขยายเครือข่ายได้ไม่จำกัด

ข้อเสียของระบบ Wireless  LAN

1.  ต้องแชร์กันใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน
2.  ราคาแพงกว่าระบบเครือข่ายแบบมีสาย
3.  มีสัญญาณรบกวนสูง
4.  มีความเร็วไม่สูงมากนัก

เว็บ : http://www.it.coj.go.th/wireless benetit.html.

สรุป

ระบบเครือข่ายไร้สาย

ระบบเครือข่ายไร้สาย เกิดขึ้นครั้งเเรกในปีค.ศ.1971 บนเกาะฮาวายโดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า"Alohnet"ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bidireccional ส่งไป-กลับง่ายๆ ผ่านวิทยุสื่อสารระหว่าคอมพิวเตอร์7เครื่องซึ่งอยู่บนเกาะ4เกาะโดยรอบและมีศูนย์กลางการเชื่อมต่ออยู่ที่เกาะๆ หนึ่งชื่อว่า Oahu

http://www.thaicyberpoint.com/ford/biog/id/194/

สรุป http://blog.eduzones.com/banny/3481

ระบบเครือข่ายไร้สายหรือระบบเครือข่ายแบบ Wireless Lam หรือ Wian เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย(ไม่จำเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล)เหมาะสำหรับติดตั้งใสถานที่ไม่สะดวกการเดินสายหรือในสถานที่ต้องการความสวยงามเรียบร้อยเป็นระเบียบเช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น

หลักการทำงานของระบบ Wireless Lam
การทำงานจะมีอุปกรณ์การส่งสัญญาณเเละกระจายสัญญาณหรือที่เราเรียกว่า Access Point เเละมี PC Cardที่เป็น Lan Card สำหรับในการเชื่อมต่อ Access Point โดยเฉพาะการทำงานจะไช้คลื่อนวิทยุเป็นการรับส่งสัญญาณ โดยมีไห้เลือกไช่ตั้งเเต่2,4 น 2.4897 Ghz เเละสามารถเลือก Config ใน Wireless Lan
(ภายในระบบเครือข่าย Wireless Lan ควรเลือกช่องสัญญาณเดียวกัน)

วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ชื่ออาจารย์ผูสอน

อาจารย์ สุจิตราภรณ์  สำเภาอินทร์
อาจารย์ ปรัศนี   บุญศรีสอาด

ระบบเครือข่าย


ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ
  1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
  2. ซอฟต์แวร์ (Software)
  3. บุคลากร (Peopleware)
ฮาร์ดแวร
    1. หน่วยควบคุม
    2. หน่วยคำนวณและตรรก
    3. หน่วยความจำ
    4. (Control Unit หรือ CU) ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคำนวณและหน่วยตรรก หน่วยความจำและแปลคำสั่ง (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทำหน้าที่ในการคำนวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
3.    หน่วยความจำภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
(Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้
หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล

1.     หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse)  นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เทเบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair)
2.    หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ